Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30847
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกัญจนา ตระกูลคู-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี-
dc.date.accessioned2013-05-08T07:16:46Z-
dc.date.available2013-05-08T07:16:46Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30847-
dc.description.abstractการศึกษาสมบัติของพอลิเมอร์ผสม 2 ชนิด และพอลิเมอร์ผสม 3 ชนิด โดยมีสารประกอบโพลิโอลิฟินมาลิเอทเป็นตัวเชื่อมประสาน หลังผ่านกระบวนการอัดรีดแบบสกรูแฝดหลายครั้ง และนำพอลิเมอร์ผสมที่ได้ มาทดสอบโดยเครื่องมือหลายชนิดเพื่อวัสดุค่าสมบัติต่าง ๆ ของพอลิเมอร์ผสม เช่น เครื่องมือวัดความหนืด เครื่องมื่อทดสอบยูนิเวอร์แซล เครื่องมือทดสอบการกระแทก และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน จากการศึกษาพบว่า ค่าความหนืดของพอลิเมอร์ผสม 3 ชนิด มีค่าสูงกว่าค่าความหนืดของพอลิเมอร์ผสม 2 ชนิด โดยเปรียบเทียบในแต่ละครั้งของการผลิตเพื่อนกลับมาใช้ใหม่ค่าการยืดตัวของพอลิเมอร์ผสม 3 ชนิด มีค่าที่ดีกว่าพอลิเมอร์ผสม 2 ชนิด เช่นกัน และจากการทดสอบการทนแรงกระแทก พบว่าพอลิเมอร์ผสม 3 ชนิด ให้ค่าที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์ได้ และผลจากการศึกษาภาพถ่ายลักษณะของพอลิเมอร์ผสมจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน เป็นเครื่องยืนยันถึงสาเหตุของสมบัติดังกล่าวข้างต้นได้-
dc.description.abstractalternativeBinary blends of high density polyethylene, (HDPE), and poly (ethylene terephthalate), (PET), were perpared and reprocessed. Ternary blends of these two components, to which maleic anhydride grafted polyolefin was added as compatibilizing agent, were reproessed with a twin screw extruder. The properties of the binary blend and ternary blend were investigated after each rerocessing pass. The instruments used for this investigation were cailary rheometer, universal machine tester, pendulum impact tester and scanning electron microscope. The apparent viscosity of ternary blend was higher than the viscosity of binary blend in the same pass at the same ratio of components. Also, the melt strengths of the binary blend and ternary blend were examined. The ductility of reprocessed ternary blend was better than that of reprocessed binary blend. The impact strength of reprocessed ternary blend was much improved as compared to that of reprocessed binary blend. The morphology was determined to ensure the mechanical compatibility of the blend.-
dc.description.sponsorshipงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2538en
dc.format.extent2167895 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectขยะพลาสติก -- การนำกลับมาใช้ใหม่en
dc.subjectโพลิเมอร์ -- การนำกลับมาใช้ใหม่en
dc.subjectอุตสาหกรรมโพลีเมอร์en
dc.subjectอุตสาหกรรมพลาสติกen
dc.subjectโพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลตen
dc.titleการศึกษาสมบัติทางกลและการเข้ากันได้ของพอลิเมอร์ผสม ระหว่างโพลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง (HDPE) กับโพลิเอทิลีนเทอรเรฟทาเลท (PET) : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์en
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Petro - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kanchana_tr_2538.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.