Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57927
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรัญญา ตุ้ยคำภีร์-
dc.contributor.advisorสักกพัฒน์ งามเอก-
dc.contributor.authorสุรวุฒิ เพิ่มพงษ์อารีย์-
dc.contributor.authorอุดมทรัพย์ เด่นเพชรกุล-
dc.contributor.authorวีณัชฐย นีรภาพิธุกานต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2018-03-26T02:49:19Z-
dc.date.available2018-03-26T02:49:19Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57927-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2016en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการติดงาน ความยึดมั่นในงาน และ ความพึงพอใจในชีวิตของพนักงาน โดยมีแรงจูงใจในการทำงานเป็นตัวแปรกำกับ โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็น พนักงานในบริษัทภาคเอกชน ทั้งเพศชายและหญิง จำนวน 219 คน โดยแบ่งเป็นเพศชาย 69 คน และเพศหญิง 150 คน โดยมีอายุเฉลี่ยเท่ากับ 31.90 (SD = 8.57) ปี และมีอายุการทำงานตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป มาตรวัดแรงจูงใจในการทำงาน (α = .688) มาตรการติดงาน (α = .704) มาตรวัดความยึดมั่นในงาน (α = .900) และมาตรวัดความพึงพอใจในชีวิต (α = .888) และวิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้น ผลการวิจัยพบว่า 1. การติดงานและความยึดมั่นในงานสามารถทำนายความพึงพอใจในชีวิต โดย การติดงานมีความสัมพันธ์ทางลบกับความพึงพอใจในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (β = -.203, p < .01) และ ความยึดมั่นในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (β = .528, p < .01) 2. แรงจูงใจแบบควบคุม (β = -.085, NS) และแรงจูงใจแบบอิสระ (β = .041, NS) ไม่มีบทบาทเป็นตัวแปรกำกับในความสัมพันธ์ระหว่างการติดงานและความยึดมั่นในงานกับความพึงพอใจในชีวิตen_US
dc.description.abstractalternativeThe study aimed to examine relationships among workaholic, work engagement, and life satisfaction of employees with work motivation as a moderator. Participants were 219 Thai employees (69 males and 150 females) who work in private company and also have their work experiences more than 6 months. Instruments were: the Motivation At Work Scale (α = .688), The Work Addiction Scale (α = .704), The Work Engagement Scale (α = .900), and The Satisfaction With Life Scale (α = .888). Hierarchical Regression Analyze was used to analyze the data. The results revealed: 1. Workaholic and Work engagement can predict Life satisfaction; Workaholic has a significantly negative correlation with Life satisfaction (β = -.203, p < .01) and Work engagement has a significantly positive correlation with Life satisfaction (β = .528, p < .01) 2. Controlled motivation (β = -.085, NS) and Autonomous motivation (β = .041, NS) has no significantly effect among the relationship between Workaholic and Work engagement to Life satisfactionen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการทำงาน -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectการบ้างาน -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectลูกจ้าง -- จิตวิทยาen_US
dc.subjectความพอใจในการทำงาน -- จิตวิทยาen_US
dc.subjectWork -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectWorkaholics -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectEmployees -- Psychologyen_US
dc.subjectJob satisfaction -- Psychological aspectsen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการติดงาน ความยึดมั่นในงาน และความพึงพอใจในชีวิตของพนักงาน โดยมีแรงจูงใจในการทำงานเป็นตัวแปรกำกับen_US
dc.title.alternativeRelations among workaholic, work engagement, and life satisfaction of employees with work motivation as a moderatoren_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisoratuicomepee@gmail.com-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
veenutch_ne.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.