Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61468
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรประพิตร์ เผ่าสวัสดิ์ | - |
dc.contributor.author | นทีธร จุงเลียก | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2019-02-26T13:47:46Z | - |
dc.date.available | 2019-02-26T13:47:46Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61468 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องการขับร้องลำตัดพ่อผูกศรีราชา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาและกลวิธีการขับร้องลำตัดของคณะลำตัดพ่อผูก ศรีราชา ผลการศึกษาพบว่าคณะลำตัดพ่อผูกศรีราชา ก่อตั้งโดยนายผูก เอกพจน์ ใน พ.ศ.2486 แม่ประพิมพ์ เอกพจน์ เป็นบุตรของพ่อผูก สืบบทลำตัดแบบเก่าและดั้งเดิมตามที่ได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ ในการแสดงลำตัดนั้น ใช้รำมะนา 4 ลูก ฉิ่ง และ คนร้อง ซึ่งบทเพลงที่โดดเด่นที่พ่อผูกได้ประพันธ์ไว้คือ ลำตัด ก ไก่-ฮ นกฮูก จากการวิเคราะห์การขับร้องลำตัด ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก สามารถชี้ให้เห็นถึงศักยภาพของผู้ประพันธ์ทางร้องและกลวิธีการร้อง โดยนางประพิมพ์ เอกพจน์ ได้รับการถ่ายทอดมาจากนายผูก เอกพจน์ ผู้เป็นบิดา พบว่า มีจำนวนทั้งหมด 3 ช่วง คือช่วงเกริ่นนำ ช่วงเนื้อเพลง และช่วงท้าย โดยในช่วงเกริ่นนำ ใช้จังหวะอิสระ เริ่มเข้าจังหวะในช่วงเนื้อเพลงและช่วงท้าย กลวิธีที่ใช้ในการขับร้องทำนองลำตัดใช้กลุ่มเสียงเดียว การใช้ทางเอื้อน 2 เสียงโดยใช้เสียง 2 พยางค์ ติดกัน และใช้เสียง 3 พยางค์ การตกแต่งทำนองด้วยเสียงเอยต้นประโยค การใช้ลมหายใจตั้งแต่ 7-8 ห้อง และ แบ่งเป็น 4 ห้อง การใช้ลมหายใจ 3 ห้อง การเน้นเสียงในห้องที่ 3 และ 4 ที่ใช้สระเสียงยาว | - |
dc.description.abstractalternative | The study aims to investigate the history and techniques of the vocal performance for Lamtad By Poh Puk Sri Racha. It reveals that the Poh Puk Sri Racha group was founded by Mr.Puk Akepoj in 1943. Mrs. Prapim Akepoj is Poh Puk’s daughter who received and continued the original style of Lamtad performance from her father. The performance of Lamtad entails four Ramana (a frame drum), Ching (a pair of cymbal) and the vocalists. The master piece of Poh Puk was. Lamtad Kor Kai – Hor Nokhook. According to the analysis of the vocal performance of Kor Kai – Hor Nokhook, it is able to show the quality of the author’s performance and vocal techniques. Mrs. Prapim Akepoj had been passed on all the vocal techniques from Master Puk Akepoj. The vocal parts have consisted of 3 parts: introduction, the lyric and the ending on the introduction’s part. In the introduction, there was no rhythmic accompaniment. The techniques used for vocal performances are employed only for a group of single voice by drawing out a note with using 2 syllables and 3 syllables. The decorations of the melody were done by using the sound “aoey” at the beginning of the sentence. Other techniques included breathing techniques with 7-8 measures and it was divided into 4 measures as well as 3 measures. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.779 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | การร้องเพลง | - |
dc.subject | ลำตัด | - |
dc.subject | วงดนตรีไทย | - |
dc.subject | Singing | - |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | - |
dc.title | การขับร้องลำตัดพ่อผูกศรีราชา | - |
dc.title.alternative | Vocal performance for Lamtad by Poh Puk Sri Racha | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | ดุริยางค์ไทย | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | Pornprapit.P@Chula.ac.th | - |
dc.subject.keyword | ลำตัด | - |
dc.subject.keyword | พ่อผูกศรีราชา | - |
dc.subject.keyword | ศรีราชา | - |
dc.subject.keyword | LAMTAD | - |
dc.subject.keyword | POH PUK SRI RACHA | - |
dc.subject.keyword | SRI RACHA | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2018.779 | - |
Appears in Collections: | Fine Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5986738035.pdf | 6.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.