Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6723
Title: แผนงานวิจัย : โครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลและบริการทางวิทยาศาสตร์และห้องปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาหารฮาลาลพร้อมโครงข่าย : ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล – ปีที่ 3
Other Titles: โครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลและบริการทางวิทยาศาสตร์และห้องปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาหารฮาลาลพร้อมโครงข่าย : ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล
Research program: establishment of the center and laboratory of scientific informations and services for promotion and development of Halal foods with network : the Halal science center – the 3rd year
Authors: วินัย ดะห์ลัน
เอกรินทร์ สายฟ้า
วนิดา นพพรพันธุ์
จงจิตร อังคทะวานิช
อุบลทิพย์ นิมมานนิตย์
สมนึก กุลสถิตพร
วาริน แสงกิติโกมล
ทิพยเนตร อริยปิติพันธ์
สุพรรณ สุขอรุณ
เปรมทิพย์ ทวีรติธรรม
นันทรี ชัยชนะวงศาโรจน์
เทวิน เทนคำเนาว์
ศิริพร ชื้อชวาลกุล
ประวิตร เจนวรรธนะกุล
ปราณีต เพ็ญศรี
รสลัย กัลยาณพจน์พร
อดิษฐ์ จิรเดชนันทน์
อัครภา จันทร์แจ่ม
สุพัตรา พรชัยสกุลดี
สมปอง เรืองจวง
ชลัยกรณ์ เพ็ชรงาม
กนกนภัส สินเสนาะ
Email: dwinai@netserv.ac.th, winaidahlan@yahoo.com
Ekarin.S@Chula.ac.th
Vanida.N@Chula.ac.th
jongjitan@yahoo.com
ubonthip.n@chula.ac.th
Somnuke.G@Chula.ac.th
warin.s@chula.ac.th
tipayanate@yahoo.com
Supunsug@hotmail.com
tpremtip@chula.ac.th.
Nuntaree.s@chula.ac.th
tewin.t@chula.ac.th
Siriporn.Ch@chula.ac.th
Prawit.j@chula.ac.th
Praneet.P@Chula.ac.th
rotsalai.k@chula.ac.th
Adit.C@chula.ac.th
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
knoknaphat.s@chula.ac.th
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์
Subjects: อาหารฮาลาล
การปนเปื้อนในอาหาร
อาหาร -- การเจือปนและการตรวจสอบ
ระบบวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม
อาหาร -- คุณภาพ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล
Issue Date: 2550
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: แผนงานวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 3 โครงการวิจัย : 1) การวิจัยและพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์สิ่งปนเปื้อน การพัฒนาชุดทดสอบแบบรวดเร็วเพื่อการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาลและการจัดทำบัญชีวัตถุดิบและสารที่อนุญาต/ไม่อนุญาตใช้ตามหลักการศาสนาอิสลาม : โดยทำการพัฒนาและศึกษาเทคนิคการวิเคราะห์สิ่งปนเปื้อน 3 โครงการ โดยเป็นโครงการต่อเนื่องจากปี 2548 2 โครงการ ได้แก่ 1) การพัฒนาชุดทดสอบที่รวดเร็วในการตรวจหาเนื้อหมูปนเปื้อนในอาหารสำหรับใช้ในห้องปฏิบัติการทั่วไป (Development of rapid pork detection kit for using in general laboratory) ประสบผลสำเร็จในระดับห้องปฏิบัติการ กำลังพัฒนาเป็นชุดทดสอบใช้ในภาคสนามต่อไป 2) การเตรียมโมโนโคลนอลแอนติบอดีต่อโปรตีนแอนติเจนของเนื้อหมู (Production of monoclonal antibodies to porcine proteins) มีความก้าวหน้าในการกระตุ้นสัตว์ทดลองเพื่อให้ได้โคลนที่ผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดีต่อแอนติเจนสุกร ส่วนโครงการที่ 3 คือการพัฒนาวิธีตรวจเจลาตินโดยการหาปริมาณไฮดรอกซี โพรลีน: ศึกษาเปรียบเทียบกับวิธีพิคริก นั้น ประสบผลสำเร็จ สามารถนำมาใช้ตรวจหาปริมาณ เจลาตินที่ความเข้มข้นต่ำได้ (Quantitative Measurement) 2) การประยุกต์ระบบ HACCP หรือ GMP ในโรงงานผลิตอาหารเพื่อการผลิตอาหารฮาลาล (Halal-GMP/HACCP) : โดยการวางระบบ Halal-GMP/HACCP ที่พัฒนาขึ้นในโรงงานผลิตอาหารจำนวน 23 โรง (ภายหลังมีโรงงานขอถอนตัวเนื่องจากความไม่พร้อม1 โรงงาน) เริ่มต้นด้วยการอบรมพนักงานระดับสูงจำนวน 120 คน ติดตามด้วยการอบรมพนักงานของโรงงานจำนวน 1,177 คน ผลการอบรมพนักงานมีความเข้าใจฮาลาลและมาตรฐานสากลมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับเกิน 3/5 ภายหลังการเข้าเยี่ยมและแนะนำรวม 6 man-day โรงงานผ่าน การประเมินระบบ Halal-GMP/HACCP 100% (22 / 22 โรงงาน) 3) การตรวจวิเคราะห์และการเฝ้าระวังการปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาลที่วางจำหน่ายและการให้ความรู้ด้านอาหารฮาลาลและแนวทางการผลิตแก่ผู้เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไป : การจัดอบรมผู้บริโภครวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง มีผู้เข้าร่วม 1,711 คน ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ ซึ่งเมื่อรวมผู้เข้าร่วมอบรมในปีที่ 1 ปีที่ 2 ได้จำนวนถึง 6,557 คน (เป้าหมาย 6,000 คน) ในการสำรวจการปนเปื้อนเอธิลอัลกอฮอล์ เจลาติน และไขมันสัตว์บกในวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป ทำการตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น 700 ตัวอย่าง เป็นการตรวจวิเคราะห์เจลาติน 189 ตัวอย่าง ตรวจเอธิลอัลกอฮอล์ 141 ตัวอย่าง และการปนเปื้อนไขมันสัตว์บก 370 ตัวอย่าง ในการดำเนินงานต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 นี้ ส่งผลให้ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาลได้รับการคัดเลือกจาก Halal Journal ซึ่งเป็นวารสารภาษาอังกฤษระดับนานาชาติของประเทศมาเลเซียจำหน่ายใน 35 ประเทศ ให้ได้รับรางวัล Halal Journal Award of Best Innovation in Halal Industry 2006 หรือรางวัลนวัตกรรมยอดเยี่ยมทางอุตสาหกรรมฮาลาล โดย รศ.ดร.วินัย ดะห์ลัน ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาลเป็นผู้รับมอบจาก ฯพณฯ ดาโต๊ะเสรี อับดุลลาบินหะยี อาหมัด บาดาวี นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ในงานกาลาดินเนอร์ ของงาน The First World Halal Forum ณ โรงแรม Mutiara Crowne Plaza กรุงกัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย วันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.2549 นอกจากนั้น ยังได้จัดการประชุมนานาชาติวิทยาศาสตร์ฮาลาล ครั้งที่ 1 “ The First International Halal Science Symposium : Halal Food – Halal Nutrition” ในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2549 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังได้ร่วมกับกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงต่างประเทศและสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เดินทางไปประเทสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ในโครงการเจาะตลาดอาหารฮาลาลเชิงรุกในภูมิภาคอเมริกาเหนือ ระหว่างวันที่ 16 – 27 กรกฎาคม พ.ศ.2549 เพื่อเจรจาความร่วมมือกับหน่วยงานรับรองฮาลาล ซึ่งประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง การสร้างความน่าเชื่อถือให้กับสินค้าฮาลาลจากประเทศไทยโดยการใช้แนวทางวิทยาศาสตร์เข้าไปเสริมการตรวจรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลของประเทศไทยนั้นเป็นที่ยอมรับอย่างดียิ่งจากองค์กรที่เป็นผู้รับรองฮาลาลในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา และ ยุโรป ว่าเป็นแนวทางที่ให้ความชัดเจน ความมั่นใจ ในการตรวจรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลได้ดียิ่งขึ้น ได้มีการลงนามในบันทึกความเข้าใจกับ 5 องค์กรที่เป็นผู้รับรองฮาลาลในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา และ ยุโรป ตามลำดับของการลงนาม ได้แก่ 1) Muslim Consumer Group USA 2) Islamic Food and Nutrition Council of America (IFANCA) USA 3) Islamic Food Council of Europe (IFCE), Brussels, Belgium 4) Islamic Society of North America (ISNA), Canada 5) Islamic Society of North America (ISNA), USA และยังมีผลงานด้านการประชาสัมพันธ์ การขยายโครงข่ายออกสู่ประเทศใน กลุ่มความร่วมมือสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ การเข้าเยี่ยมชมศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาลจาก ชาวต่างประเทศหลายกลุ่ม การนำเสนอผลงานของศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาลในนิตยสารต่างประเทศ ผลการดำเนินงานตลอดปีงบประมาณเป็นที่น่าพอใจ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6723
Type: Technical Report
Appears in Collections:All - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Winai_Halal.pdf16.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.