Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68576
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระ สัจกุล-
dc.contributor.advisorบัณฑิต จุลาสัย-
dc.contributor.authorยุบล โล่ห์จินดารัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-10-14T09:52:40Z-
dc.date.available2020-10-14T09:52:40Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.issn9743343636-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68576-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพและปัญหาที่อยู่อาศัยในปัจจุบัน ตลอดจนความต้องการที่อยู่อาศัยในอนาคตของอาจารย์และข้าราชการสาย ข ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อเสนอแนะแนวทางในการกำหนดนโยบายที่ อยู่อาศัยของอาจารย์และข้าราชการสาย ข ในอนาคต ในการศึกษาวิจัยได้ศึกษาข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ โดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ และการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิ โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครังนี้คือ อาจารย์และข้าราชการของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจำนวน 362 คน เพื่อหาคำตอบตามวัตถุประสงค์ จึงทำการคัดเลือกเฉพาะกลุ่มที่มีความต้องการเปลี่ยนที่อยู่อาศัยใหม่ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความจำเป็นเร่งด่วนด้านที่อยู่ อาศัยมีจำนวน 187 คน ประกอบด้วยกลุ่มที่มีที่อยู่อาศัยภายนอกจุฬาฯ 162 คน (86.6%) และกลุ่มที่พักอาศัยในหอพักจุฬาฯ 25 คน(13.4%) ผลการศึกษาสรุปได้ว่า บุคลากรที่มีความต้องการเปลี่ยนที่อยู่อาศัยใหม่ทั้ง 187 คน กลุ่มที่มหาวิทยาลัยควรให้ความช่วยเหลือด้านเคหะสงเคราะห์แบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มแรกคือ กลุ่มผู้ที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัย ซึ่งปัจจุบันมีที่อยู่อาศัยภายนอกมหาวิทยาลัย มีจำนวน 103 คน (55.0%) สามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อยคือ กลุ่มผู้ที่มีรายได้รวมมากกว่า 30,000 บาทต่อเดือน และกลุ่มผู้ที่มีรายได้รวมไม่เกิน 20,000 บาทต่อเดือน ทั้ง 2 กลุ่มนอกจากไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัยแล้ว ยังมีปัญหาที่อยู่อาศัยปัจจุบันคือ ที่ทั้งของที่อยู่อาศัยไกล ทำให้การเดินทางไปทำงานไม่สะดวก สวัสดิการที่อยู่อาศัยที่ ต้องการจากมหาวิทยาลัยคือการจัดสร้างที่อยู่อาศัยให้ซื้อผ่อน กลุ่มที่สองคือ กลุ่มผู้ที่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัยอยู่แล้ว มี จำนวน 59 คน (31.6%) โดยเฉลี่ยรายไต้รวมมากกว่า 35,000 บาทต่อเดือน ถึงแม้ปัจจุบันมีบ้านพักอาศัยแล้วแต่ก็มีปัญหา คือที่อยู่อาศัยไกลจากมหาวิทยาลัย ทำให้การเดินทางไม่สะดวก หรือมีปัญหาที่อยู่อาศัยปัจจุบันคับแคบหรือสภาพไม่ดี สวัสดิการที่ต้องการจากมหาวิทยาลัยคือ ความช่วยเหลือในต้านจัดหาแหล่งเงินกู้อัตราดอกเบี้ยต่ำ กลุ่มที่สามคือ กลุ่มผู้ที่พักอาศัยอยู่ในหอพักจุฬาฯ มีจำนวน 25 คน (13.4%) โดยเฉลี่ยมีรายได้รวมมากกว่า 35,000 บาทต่อเดือนกลุ่มนี้ไม่มีที่อยู่ถาวร มีความเห็นว่าค่าเช่าหอพักปัจจุบันยังสูง สวัสดิการที่อยู่อาศัยที่ต้องการคือ ยังต้องการให้มหาวิทยาลัยจัดสร้างหอพัก ในมหาวิทยาลัยให้เช่า แนวทางในการกำหนดนโยบายที่อยู่อาศัยของอาจารย์และข้าราชการสาย ข สามารถดำเนินการไต้ 4 แนวทางคือ (1) นโยบายสำหรับกลุ่มผู้ที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัย คือ นโยบายต้านสวัสดิการที่อยู่อาศัยให้ซื้อผ่อน ได้แก่ (1.1) เสนอแนะโครงการที่อยู่อาศัยของการเคหะแห่งชาติ (1.2) เสนอแนะให้มหาวิทยาลัย การเคหะแห่งชาติ และเอกชน ร่วมมือจัดสร้างโครงการที่อยู่อาศัยให้ โครงการข้อ 1.1 และ 1.2 เหมาะสำหรับกลุ่มผู้ที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัย ซึ่งมีรายได้รวม ไม่เกิน 20,000 บาทต่อเดือน (1.3) เสนอแนะโครงการที่อยู่อาศัยของเอกชน (1.4) โครงการจัดสร้างที่อยู่อาศัยโดยเอกชน เช่น ให้เอกชนเช่าที่ดินในเขตพาณิชย์ของจุฬาฯ จัดสร้างอาคารชุดพักอาศัยเพื่อให้เซ้ง โครงการข้อ 1.3 และ 1.4 เหมาะ สำหรับกลุ่มผู้ที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัย ซึ่งมีรายได้รวมมากกว่า 30,000 บาทต่อเดือน (2) นโยบายสำหรับกลุ่มผู้ที่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัยแล้ว คือ นโยบายด้านสวัสดิการเงินกู้ที่อยู่อาศัย ได้แก่ (2.1) โครงการสวัสดิการเงินกู้เคหะสงเคราะห์จุฬาฯ (2.2) โครงการจัดหาแหล่งเงินกู้อัตราดอกเบี้ยต่ำ (3) นโยบายสำหรับกลุ่มผู้ที่พักอาศัยอยู่ในหอพักจุฬาฯ คือ นโยบายด้านสวัสดิการที่พักอาศัยให้เช่า ได้แก่ (3.1) โครงการปรับปรุงตึกแถวบริเวณสวนหลวงซึ่งมหาวิทยาลัยกำลังทำการศึกษาความเป็นไปได้ให้เป็นที่พักอาศัยให้เช่า (3.2) โครงการจัดสร้างหอพักในจุฬาฯ (4) นโยบายจัดบริการรถรับส่ง-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the present housing situation and problems of the faculty and staff of Chulalongkorn University, including their future housing demand, in order to propose guidelines for their housing welfare. The research was based on secondary data collected from documents and also on primary data. A questionnaire was used as the research instrument. 362 of the faculty and staff of Chulalongkorn University were asked to fill in the questionnaire. It was found that 187 subjects were in urgent need of housing 162 (86.6%) lived off campus while the remaining 25 (13.4%). lived on campus. The University provided them with dormitories. The study found that the 187 subjects who were in need of housing could be classified into 3 groups as follows: 103 (55.0%) were in the first group. They did not own a house and were living off campus. This group could be subdivided into 2 groups. The first subgroup earned a total income of over 30,000 baht a month. The second subgroup earned a total income of no more than 20,000 baht a month. Beside the fact that both subgroups did not own a house, their residences were far away from the University. As a result, it took a long time for them to commute. They would like the University to provide them with housing on an instalment plan. The second group, comprising 59 (31.6%), owned houses. Their total income was over 35,000 baht a month. Although they owned a house, their houses were situated far away from the University and were too small or in bad condition. They wanted the University to provide them with low-interest rate loans. The third group, totalling 25 (13.4%), lived in University dormitories. Their total income was over 35,000 baht a month. They did not own a house and felt that their rent was high. They wanted the University to provide them with dormitories for rent on campus. There are 4 possible strategies by which Chulalongkorn University can assist Faculty and staff with their housing needs, via: (1) an instalment plan, (2) providing loans for housing, (3) providing housing for rent, and (4) providing transportation services. The first option is relevant for those who do not own a house. It could be implemented by (1.1) introducing the faculty and staff to the NHA’s projects, (1.2) working in conjunction with the NHA’s projects, (1.3) working in conjunction with the NHA and private sectors in constructing houses for them, (1.4) introducing them to housing run by non-governmental agencies or (1.5) contracting with private agencies to build houses for them. 1.1 and 1.2 are suitable for those whose income is more than 20,000 baht a month. 1.3 and 1.4 are suitable for those whose income is more than 30,000 baht a month. 1.5 can be accomplished by asking a property developer to build an apartment block for rent. The second is relevant for those who own a house. It can be carried out through the University’s housing loans or low-interest-rate loans. The strategy would be relevant for those who live in University dormitories. It can be accomplished by renovating shop houses in Suan Luang as housing for rent as currently studied by the University, or by building dormitories on campus.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- อาจารย์ -- ที่อยู่อาศัย-
dc.subjectจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- ข้าราชการ -- ที่อยู่อาศัย-
dc.subjectความต้องการที่อยู่อาศัย-
dc.subjectสวัสดิการข้าราชการ-
dc.subjectนโยบายที่อยู่อาศัย-
dc.titleนโยบายที่อยู่อาศัยของอาจารย์และข้าราชการสาย ข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.title.alternativeA housing policy for the faculty and staff of Chulalongkorn University-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเคหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yubon_lo_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.19 MBAdobe PDFView/Open
Yubon_lo_ch1_p.pdfบทที่ 1778.42 kBAdobe PDFView/Open
Yubon_lo_ch2_p.pdfบทที่ 21.75 MBAdobe PDFView/Open
Yubon_lo_ch3_p.pdfบทที่ 31.99 MBAdobe PDFView/Open
Yubon_lo_ch4_p.pdfบทที่ 4844.48 kBAdobe PDFView/Open
Yubon_lo_ch5_p.pdfบทที่ 52.54 MBAdobe PDFView/Open
Yubon_lo_ch6_p.pdfบทที่ 61.35 MBAdobe PDFView/Open
Yubon_lo_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.