Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70733
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประนอม รอดคำดี-
dc.contributor.authorชฎาภรณ์ วัฒนวิไล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-13T03:46:32Z-
dc.date.available2020-11-13T03:46:32Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.issn9746386573-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70733-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาผลของการใช้ระบบการพยาบาลสนับสนุนและให้ความรู้ สำหรับมารดาวัยรุ่นและครอบครัวต่อความสามารถในการดูแลตนเองและดูแลบุตรของมารดาวัยรุ่นในระยะหลังคลอด ซึ่งใช้กรอบทฤษฎีระบบการพยาบาลกับการดูแลตนเองของโอเรม ในหลักการของการร่วมกัน ประเมินปัญหาการดูแลตนเองและดูแลบุตร ระหว่างพยาบาล มารดาวัยรุ่นและครอบครัว ให้ความรู้ตามสภาพปัญหา โดยมีแผนการสอนเรื่องการปฏิบัติตนในระยะหลังคลอดและการเลี้ยงดูทารกแรกเกิด ภาพพลิกประกอบการสอนและแจกคู่มือภายหลังการสอน ให้การชี้แนะเพื่อการตัดสินใจสนับสนุน โดยการนำครอบครัวของมารดาวัยรุ่นเป็นแหล่งในการเรียนรู้ เป็นแบบอย่างในการดูแลตนเองและดูแลบุตร ติดตามและสนับสนุน การปฏิบัติในการดูแลตนเองและดูแลบุตรของมารดาวัยรุ่น และส่งเสริมครอบครัวให้ช่วยเหลือดูแลมารดาวัยรุ่น มีการเยี่ยมบ้านในสัปดาห์ที่ 1 และ 3 หลังคลอด และการสร้างสิ่งแวดล้อม โดยประสานให้มารดาวัยรุ่นและครอบครัวได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้สึก ความคิดเห็น ประสบการณ์ และการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ในครอบครัว กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาวัยรุ่นที่มีสภาพสมรสคู่ อายุน้อยกว่า 20 ปี รับไว้ใน แผนกสูติกรรมหลังคลอดของโรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรี จับคู่ด้วยปัจจัยรายได้ต่อเดือนของ ครอบครัว และลักษณะครอบครัว สุ่มอย่างง่ายเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PCX คำนวณค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่าง โดยการทดสอบค่าที (t-test) ผลการศึกษา พบว่า 1. ความสามารถในการดูแลตนเองและดูแลบุตรของมารดาวัยรุ่น กลุ่มที่ได้รับการใช้ระบบการ พยาบาลสนับสนุนและให้ความรู้ ภายหลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 2. ความสามารถในการดูแลตนเองและดูแลบุตรของมารดาวัยรุ่น กลุ่มที่ได้รับการใช้ระบบการ พยาบาลสนับสนุนและให้ความรู้ ภายหลังการทดลอง สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine effects of using supportive and educative nursing system for teenage mothers and their families on self-care and child-care abilities in post partum period. Orem’ s theory has been applied for this research. The supportive and educative nursing system was brainstorming to evaluate problems of self-care and child-care among nurse, teenage mother, and family. Real situations and problem were demonstrated to educated teenage mothers and their families, that the education plan of post partum care and newborn care was provide. Flip charts were used when educating, and manuals were dispersed after educating has been done. The nursing system was used guiding another and supporting another, that teenage mother1 ร families were used as a mean of self-care and child-care. In the first and third week of post partum, teenage mothers were visited at their home. Surrounding were - created by applying sources easily found in the house to help teenage mothers and their families to share emotion, comment, and experience. Couple teenage mothers who admitted on Obstetric Department of Phrapokklao Regional Hospital, Chantaburi province were included in this study. Experimental groups were separated into two groups, experimental and control group, which they were simply randomed and classified by monthly income and family characteristic. Each group included 20 mothers. Data was analyzed to determine the percentile, mean, standard deviation, and t-test by SPSS/PCX program. The results of this study were as follows: 1. Post experimented, self-care and child-care abilities of experimental group received the supportive and educative nursing system was increased significantly (p< .05). 2. Self-care and child-care abilities of experimental group received the supportive and educative nursing system was higher than those received normal nursing treatments significantly (p< .05).-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen_US
dc.subjectครอบครัว -- สุขภาพและอนามัยen_US
dc.subjectมารดาวัยรุ่น -- การดูแลen_US
dc.subjectSelf-care, Healthen_US
dc.subjectFamilies -- Health and hygieneen_US
dc.subjectTeenage mothers -- Careen_US
dc.titleผลของการใช้ระบบการพยาบาลสนับสนุนและให้ความรู้สำหรับมารดาวัยรุ่น และครอบครัวต่อความสามารถในการดูแลตนเองและดูแลบุตรของมารดาวัยรุ่นen_US
dc.title.alternativeEffects of using supportive and educative nursing system for teenage mothers and their families on self-care and child-care abilities of teenage mothersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorbranom.r@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chadaporn_va_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ415.69 kBAdobe PDFView/Open
Chadaporn_va_ch1.pdfบทที่ 1699.06 kBAdobe PDFView/Open
Chadaporn_va_ch2.pdfบทที่ 22.34 MBAdobe PDFView/Open
Chadaporn_va_ch3.pdfบทที่ 31.06 MBAdobe PDFView/Open
Chadaporn_va_ch4.pdfบทที่ 4461.38 kBAdobe PDFView/Open
Chadaporn_va_ch5.pdfบทที่ 5631.69 kBAdobe PDFView/Open
Chadaporn_va_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.