Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71356
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารยะ ศรีกัลยาณบุตร | - |
dc.contributor.author | ธีระยุทธ เฉยทิม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-12-08T02:40:41Z | - |
dc.date.available | 2020-12-08T02:40:41Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741741189 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71356 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นคว้าว่าการใช้รูปแบบดีคอนสตรักชั่น (Deconstruction) ในงานออกแบบโฆษณา ลามารถสื่อสารบุคลิกภาพ (Personality) ใดได้ มี วิธีการใช้เทคนิคการปรบเปลี่ยนองค์ประกอบ (Technic) อย่างไร และมีหลักการโครงสร้างการจัด องค์ประกอบ (Composition Structure) อย่างไร การดำเนินงานวิจัย 1.) ศึกษาข้อมูลจากวรรณกรรมที่เกี่ยวกับดีคอนสตรักชั่น รวบรวม ข้อมูลข้อมูลบุคลิกภาพ วิธีการใช้เทคนิคการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบ และหลักการโครงสร้างการ จัดองค์ประกอบเรขศิลป์ 2.) คัดเลือกผลงานสิ่งพิมพ์โฆษณาที่มีเกณฑ์การใช้รูปดีคอนสตรักชั่น ตามวรรณกรรมจำนวน 130 ชิ้น 3.) จัดทำแบบสอบถาม และคู่มือ 4.) ลอบถามผู้ เชี่ยวชาญ ทางด้านการออกแบบเรขศิลป์ และโฆษณาจำนวน 5 ท่าน 5.) สรุปและวิเคราะห์ผลของการวิจัย ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบดีคอนสตรักชั่นในการออกแบบโฆษณา 1. ) ลามารถสื่อสารได้จำนวน15บุคลิกภาพ โดยมี 3 อันคับแรกตามอันดับ คือ กล้าปังอาจ (Daring) บึกบึน (Tough) และ รักอิสระ(Outdorrsy) 2. ) มีวิธีการใช้เทคนิคการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบจำนวน 11 เทคนิค โดยมี 3 อันดับ แรกตามอันดับ คือ ศิลป์ (Artistic) พร่า มัว(Blur) และ สัญญญาณรบกวน (Noise) 3. ) ใช้หลักการโครงสร้างการจัดองค์ประกอบจำนวน 8 โครงสร้าง โดยมี 3 อันดับแรก ตามอันดับ คือ คล้ายกัน (Similarity) รวมตัว(Concentration) และ ตัดกัน (Contrast) | - |
dc.description.abstractalternative | The aim of this research is to study deconstruction method used in advertisement. The study concerns: first, the types of personality which are expressed; second, the use of techniques for changing compositions, and last, the composition structure. The procedure of the research can be presented as follows. Firstly, related literatures about deconstruction, personality, uses of techniques for changing compositions, and principles of composition structure are reviewed. Secondly, 130 pieces of advertisement, which have been produced by means of deconstruction method, are collected. Thirdly, questionnaires and the manual are produced. Fourthly, consultation with 5 experts in the field of graphic design and advertisement is done. Finally, the result of the study is concluded and interpreted. The result of the study shows: 1. ) There are 15 types of personality that can be expressed via deconstruction method. The first 3 common types are daring, tough, and outdoorsy, respectively. 2. ) There are 11 techniques used in composition changing. The first 3 techniques are artistic, blur, and noise, respectively. 3. ) There are 8 composition structures used. The first 3 frequently used structures are similarity, concentration, and contrast. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | โฆษณา -- การออกแบบ | en_US |
dc.subject | บุคลิกภาพ | en_US |
dc.subject | Advertising -- Design | en_US |
dc.subject | Personality | en_US |
dc.title | การใช้รูปแบบดีคอนสตรักชั่นเพื่อสื่อสารบุคลิกภาพในการออกแบบสิ่งพิมพ์โฆษณา | en_US |
dc.title.alternative | Use of deconstruction to communicate personality in print advertising design | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นฤมิตศิลป์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Araya.S@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Fine Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Teerayut_ch_front_p.pdf | 995 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Teerayut_ch_ch1_p.pdf | 969.3 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Teerayut_ch_ch2_p.pdf | 5.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Teerayut_ch_ch3_p.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Teerayut_ch_ch4_p.pdf | 714.27 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Teerayut_ch_ch5_p.pdf | 728.37 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Teerayut_ch_ch6_p.pdf | 1.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.