Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72803
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พงศักดิ์ วัฒนสินธุ์ | - |
dc.contributor.advisor | ผุสดี ทิพทัส | - |
dc.contributor.author | มณีรัตน์ จินุกูล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | จังหวัดนนทบุรี | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-12T03:36:25Z | - |
dc.date.available | 2021-03-12T03:36:25Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.isbn | 9741701403 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72803 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงลักษณะเฉพาะท้องถิ่นชุมชนมอญเกาะเกร็ด นนทบุรี โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบทางกายภาพ ลังคม และเศรษฐกิจของชุมชน เพื่อเสนอแนวทางการอนุรักษ์-พัฒนา และแนวทางการออกแบบในพื้นที่ชุมชนมอญเกาะเกร็ด ขั้นตอนในการศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภูมิจากการสำรวจภาคสนาม และสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวช้องร่วมกับข้อมูลทุติยภูมิ เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดในการออกแบบ และความสัมพันธ์ของโครงสร้างพื้นที่เพื่อนำไปสู่การเสนอแนวทางการออกแบบที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และพัฒนาชุมชนมอญเกาะเกร็ด ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะเฉพาะของท้องถิ่นชุมชนมอญเกาะเกร็ด คือ ความพิถีพิถัน และประณีตในการทำกิจต่างๆ ที่สื่อการแสดงออกที่อ่อนช้อย เนิบนาบ นุ่มนวล และค่อยเป็นค่อยไปในโครงสร้างพื้นฐานที่มีการจัดลำดับแสดงขอบเขต และที่หมายตาในการเช้าถึงพื้นที่ต่างๆของชุมชน สื่อถึงความเป็นส่วนตัวในแบบช่างประดิษฐ์ที่เคารพธรรมชาติ มีลักษณะเฉพาะทางกายภาพของชุมชน ในการประกอบอาชีพทำเครื่องปั้นดินเผาเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน จึงพบสิ่งปลูกสร้างเฉพาะได้แก่ โรงปั้น เตาเผา ศาลผีใช้ทำพิธีกรรมทางความเชื่อ การประกอบกิจกรรมทางวัฒนธรรมใช้ที่ว่างบริเวณลานศาลผี ลานกลางบ้าน โดยมีระบบสัญจรที่เชื่อมโยงพื้นที่ภายในชุมชนอย่างใกล้ชิด อันเป็นปัจจัยทางกายภาพพื้นฐานก่อให้เกิดการรวมตัวกันเป็นกลุ่ม มีความสามัคคี ความเป็นหนึ่งเดียวกัน และความผูกพันร่วมกันในชุมชน ซึ่งข้อมูลดังกล่าวใช้ในการออกแบบ และนำเสนอแนวทางการอนุรักษ์ และพัฒนาทางกายภาพชุมชนมอญเกาะเกร็ด การนำเสนอแนวทางการออกแบบจากผังของชุมชนมอญเกาะเกร็ดสู่กลุ่มพื้นที่ย่อยต่างๆที่สำคัญของชุมชนตามการใช้ประโยชน์ที่ดินเฉพาะที่ต้องการสื่อถึงรูปแบบทางกายภาพท้องถิ่นชุมชนที่อยู่อาศัย มีการใช้กลุ่มอาคาร และพื้นที่ประกอบกิจกรรมอย่างมีลำดับ แสดงขอบเขตด้วยการเปลี่ยนระดับ และผิวสัมผัสพื้นที่ตามการใช้งานสื่อความหมายลักษณะเฉพาะความเป็นคนมอญ รวมทั้งเสนอระบบสัญจรในชุมชนที่เชื่อมโยงพื้นที่ ต่างๆด้วยเส้นขอบ เส้นทาง และเส้นนํ้าสร้างโครงข่ายการสัญจรในชุมซนให้มิความใกล้ชิด และเป็นส่วนตัวยิ่งขึ้น ดังนั้นแนวทางการอนุรักษ์ และพัฒนาพื้นที่ชุมชนมอญเกาะเกร็ดจึงเสนอแนวคิด การรวมกลุ่มในพื้นที่สำคัญของชุมชนตามการใช้ประโยชน์ที่ดิน การรวมกลุ่มในกิจกรรมต่างๆ ทั้งการประกอบอาชีพที่แสดงถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น พิธีกรรมความเชื่อที่สืบทอดกันมา การพักผ่อนร่วมกันในชุมชนเพื่อประสานสัมพันธ์ในระดับกลุ่มคนรุ่นต่างๆ จนถึงระดับชุมชน ก่อให้เกิดความผูกพันในท้องถิ่นร่วมกัน และสำนึกรักษาดูแลถิ่นฐานตาม วิถีชีวิตที่เหมาะสมโดยกลุ่มคนในชุมชน และเพื่อคนในชุมชนมอญเกาะเกร็ด | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study the unique characteristics of the Koekret Mon community, Nonthaburl Province by analyzing the relationship between the physical, social and economic features of the community in order to recommend conservation and development guidelines and design guidelines for the area. The study gathered primary data from field survey and interview with those involved in the secondary data. The data was used in setting the design framework and the relationship of the community structure so that a recommendation of guidelines for designs suitable for the conservation and deveiopment of the Koekret Mon community could be made. The results of the study show that the unlque characteristic of the Koelret Mon community is the fastidious manner in which the go about their activities, which is clearly reflected in the community’s infrastructure, the area marking and accessibility to different areas in the community, with an emphasis on privacy. The designs show the refined craftsmanship as well as respect for nature. The community’s unique profession is that of potters. Therefore, potter’s sheds, kilns and a spirit house used in performing their ceremonies are found in the area. Cultural-related activities are performed in the space near the spirit house or the communal ground. Walkways interrelated within the community area promote the feeling of bonding among the people in the community. Such information is used in designing and recommending guidelines for the conservation and physical development of the Koekret Mon community. The design of the Koekret Mon community focuses on the grouping of the people according to the use of land. Groups of buildings and activity areas are divided in order, with boundaries shown with a change of ground level. Also, the textures of different areas, which differ according to different uses, reflects the unique characteristic of the Mon. The Internal traffic routes connect different areas inside the community with walkways and waterways, thus establishing a transport network focused on both proximity and privacy. Therefore, to conserve and develop the koekret Mon community, it is suggested that grouping in crucial areas be done according to the use of land. The grouping of people according to their profession which reflects local wisdom, long-held beliefs, and relaxation together within the community all contribute to fostering of relationships among different generations and creating bonding and awareness among the people to observe and conserve their local ways of living in their community. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ชุมชน | en_US |
dc.subject | การพัฒนาชุมชน | en_US |
dc.subject | มอญ -- ไทย -- เกาะเกร็ด (นนทบุรี) | en_US |
dc.subject | เกาะเกร็ด (นนทบุรี) | en_US |
dc.title | แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่ชุมชนมอญเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี | en_US |
dc.title.alternative | Conservation and development guidelines for the Koekret Mon Community, Nonthaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การออกแบบชุมชนเมือง | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Maneerat_ji_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 990.43 kB | Adobe PDF | View/Open |
Maneerat_ji_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Maneerat_ji_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Maneerat_ji_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 9.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Maneerat_ji_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Maneerat_ji_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 10.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Maneerat_ji_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 983.42 kB | Adobe PDF | View/Open |
Maneerat_ji_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 2.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.