Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65777
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เหรียญ บุญดีสกุลโชค | - |
dc.contributor.advisor | ปวีณา เชาวลิตวงศ์ | - |
dc.contributor.author | วราภรณ์ พกนนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-05-15T03:25:19Z | - |
dc.date.available | 2020-05-15T03:25:19Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.isbn | 9741745796 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65777 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิศวกรรมอุตสาหการให้มีความเหมาะสม สอดคล้องและต่อเนื่องกันทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอกขั้นตอนดำเนินงานวิจัย ได้แก่ 1) การวางแผนและเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลักสูตรได้แก่ ผู้ว่าจ้าง สถาบันการศึกษาระดับสูง ผู้เรียนอาจารย์และข้อบังคับ/เกณฑ์มาตรฐานต่าง ๆ 2) การวิเคราะห์ความต้องการและประเมินหลักสูตรปัจจุบัน 3) การออกแบบ หลักสูตรโดยประยุกต์เทคนิคการแปรหน้าที่คุณภาพเป็นเครื่องมือหลักที่สำคัญเพื่อออกแบบหลักสูตรให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลักสูตร โดยเป็นการแปรคุณสมบัติของบัณฑิตที่ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลักสูตรพึงประสงค์ไปเป็นเนื้อหาความรู้และวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และ 4) การวิเคราะห์และประเมินหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น ผลลัพธ์ที่ได้จากงานวิจัยประกอบด้วย 2 มิติที่สำคัญต่อการเรียนรู้ของนิสิตคือ เนื้อหาและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยจัดการให้อยู่ในรูปแบบของรายวิชา เนื้อหาวิชา แผนการศึกษาโครงสร้างหลักสูตร การเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมหลักสูตร ซึ่งจากการวิเคราะห์และประเมินหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น ร้อยละ 85 ของผู้ร่วมแสดงความคิดเห็นมีความเห็นว่าหลักสูตรนี้จะสามารถช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ความสามารถเป็นไปตามคุณสมบัติที่ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลักสูตรพึงประสงค์ใด้ | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิศวกรรมอุตสาหการให้มีความเหมาะสม สอดคล้องและต่อเนื่องกันทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอกขั้นตอนดำเนินงานวิจัย ได้แก่ 1) การวางแผนและเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลักสูตรได้แก่ ผู้ว่าจ้าง สถาบันการศึกษาระดับสูง ผู้เรียนอาจารย์และข้อบังคับ/เกณฑ์มาตรฐานต่าง ๆ 2) การวิเคราะห์ความต้องการและประเมินหลักสูตรปัจจุบัน 3) การออกแบบ หลักสูตรโดยประยุกต์เทคนิคการแปรหน้าที่คุณภาพเป็นเครื่องมือหลักที่สำคัญเพื่อออกแบบหลักสูตรให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลักสูตร โดยเป็นการแปรคุณสมบัติของบัณฑิตที่ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลักสูตรพึงประสงค์ไปเป็นเนื้อหาความรู้และวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และ 4) การวิเคราะห์และประเมินหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น ผลลัพธ์ที่ได้จากงานวิจัยประกอบด้วย 2 มิติที่สำคัญต่อการเรียนรู้ของนิสิตคือ เนื้อหาและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยจัดการให้อยู่ในรูปแบบของรายวิชา เนื้อหาวิชา แผนการศึกษาโครงสร้างหลักสูตร การเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมหลักสูตร ซึ่งจากการวิเคราะห์และประเมินหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น ร้อยละ 85 ของผู้ร่วมแสดงความคิดเห็นมีความเห็นว่าหลักสูตรนี้จะสามารถช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ความสามารถเป็นไปตามคุณสมบัติที่ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลักสูตรพึงประสงค์ใด้ | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to develop the industrial engineering curriculum to be more appropriate, consistency and simultaneous with both undergraduate and graduate program. The research was conducted in four steps. The first step is to plan and gather stakeholder requirements such as employers, institution for higher education, students, instructors, and organizations related to engineering education rules or standards. Then the analysis of requirements and evaluation of the present curriculum were done in the second step. The curriculum was designed by mainly applying the quality function deployment (QFD) technique. By QFD technique, the graduate qualification was deployed to learning contents and learning experiences to meet the stakeholder requirements. Finally, the proposed curriculum was analyzed and evaluated. The output from this research consists of two important dimensions for student’s learning success: learning contents and learning experiences. These two dimensions to be included in course contents, programs of study, curriculum structures, in-class activities and extra curriculum activities. Eighty five percent of related personnel agreed that this curriculum has the ability to encourage students to learn and meet the stakeholder requirements. | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to develop the industrial engineering curriculum to be more appropriate, consistency and simultaneous with both undergraduate and graduate program. The research was conducted in four steps. The first step is to plan and gather stakeholder requirements such as employers, institution for higher education, students, instructors, and organizations related to engineering education rules or standards. Then the analysis of requirements and evaluation of the present curriculum were done in the second step. The curriculum was designed by mainly applying the quality function deployment (QFD) technique. By QFD technique, the graduate qualification was deployed to learning contents and learning experiences to meet the stakeholder requirements. Finally, the proposed curriculum was analyzed and evaluated. The output from this research consists of two important dimensions for student’s learning success: learning contents and learning experiences. These two dimensions to be included in course contents, programs of study, curriculum structures, in-class activities and extra curriculum activities. Eighty five percent of related personnel agreed that this curriculum has the ability to encourage students to learn and meet the stakeholder requirements. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ -- หลักสูตร | en_US |
dc.subject | การกระจายการทำงานเชิงคุณภาพ | en_US |
dc.subject | กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ | en_US |
dc.subject | การวางแผนหลักสูตร | en_US |
dc.subject | Chulalongkorn University. Department of Industrial Engineering -- Curricula | en_US |
dc.subject | Quality function deployment | en_US |
dc.subject | Analytical hierarchy process | en_US |
dc.subject | Curriculum planning | en_US |
dc.title | การประยุกต์เทคนิคการแปรหน้าที่คุณภาพในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรของ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title.alternative | Application of quality function deployment technique in curriculum design and development for Industrial Engineering Department, Chulalongkorn University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Rein.B@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Paveena.C@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Varaporn_pu_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 971.39 kB | Adobe PDF | View/Open |
Varaporn_pu_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 776.27 kB | Adobe PDF | View/Open |
Varaporn_pu_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Varaporn_pu_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 2.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Varaporn_pu_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Varaporn_pu_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 5.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Varaporn_pu_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 719.29 kB | Adobe PDF | View/Open |
Varaporn_pu_back_p.pdf | รายการอ้างอิง และภาคผนวก | 6.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.